
งานเหล็กเสริมคอนกรีตที่สามารถทำได้ง่ายๆ ด้วย ArchiCAD Thai BIM เครื่องมือเพื่องานก่อสร้างที่ครบในชุดเดียว บนซอฟต์แวร์หลักอย่าง ArchiCAD ทั้งการเคลียร์แบบ BIM 3 มิติ ทำ Shop Drawing ออกแบบงานโครงสร้าง งานระบบ เสริมทัพด้วย Thai Library
งานเหล็กเสริมคอนกรีตที่สามารถทำได้ง่ายๆ ด้วย ArchiCAD Thai BIM เครื่องมือเพื่องานก่อสร้างที่ครบในชุดเดียว บนซอฟต์แวร์หลักอย่าง ArchiCAD ทั้งการเคลียร์แบบ BIM 3 มิติ ทำ Shop Drawing ออกแบบงานโครงสร้าง งานระบบ เสริมทัพด้วย Thai Library
(เรียงจากซ้าย) ดร.นิพนธ์ วงศ์จินดา, คุณประภาส ตั้งอดุลย์รัตน์, คุณชนินทร์ อัยรักษ์ คุณประภาส ตั้งอดุลย์รัตน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แอพพลิแคด จำกัด ร่วมกับ Graphisoft เปิดตัว ArchiCAD Thai BIM ซอฟต์แวร์เวอร์ชันล่าสุดสำหรับผู้รับเหมาไทยโดยเฉพาะ เพื่อพลิกโฉมผู้รับเหมาไทยให้ทำกำไรเป็นกอบเป็นกำ ในงาน AchiCAD
ถ้าถามว่าแนวโน้มเทคโนโลยีการก่อสร้างในยุค Thailand 4.0 มีปัจจัยอะไรที่จะต้องรู้หรือรับมือบ้าง คงมีผู้รู้ตอบคำถามนี้ไปในหลายๆ แนวทาง หรือหลายๆ เทคโนโลยี แต่ที่หลายสำนักเห็นตรงกันน่าจะมีอยู่ 2 ปัจจัยหลัก คือ การใช้เทคโนโลยีทางด้านการก่อสร้างแบบกึ่งสำเร็จรูป หรือที่เรียกกันติดปากว่า Pre-Fab (Pre Fabrication) ซึ่งเทคโนโลยีนี้จะช่วยให้งานทางด้าน Construction
ArchiCAD Thai BIM เทคโนโลยีที่จะมาพลิกโฉมวงการผู้รับเหมาไทยให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และเพิ่มกำไรได้อย่างเป็นกอบเป็นกำ การออกแบบและก่อสร้างในอดีตนั้น ผู้รับเหมาต้องรับ Hard Copy คือ แบบแปลนพิมพ์เขียวมาจากฝั่งสถาปนิก หรือเจ้าของโครงการ จากนั้นก็มาทำการถอดแบบประเมินราคา แล้วก็ประมูลหรือนำเสนอ หากได้งานแล้วก็ต้องมาทำแบบละเอียดหรือ Shop Drawing โดยที่ต้องทำการเคลียร์แบบระหว่างแบบสถาปัตย์โครงสร้างและแบบงานระบบ สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ
โครงการก่อสร้างทั่วไปมีหลากหลายขนาดต่างๆ กันไป ตั้งแต่บ้านไปจนถึงอาคารสาธารณะขนาดใหญ่อย่าง สนามกีฬา หอประชุม ห้างสรรพสินค้า จนถึงระดับเมืองในโครงการขนาดเล็กถึงกลาง อย่างบ้านพักอาศัย หอพัก อพาร์ทเมนท์ ซึ่งผู้ออกแบบ ทำแบบ และก่อสร้าง อาจเป็นบริษัทเดียวกัน ซึ่งอาจเป็นบริษัทรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็กถึงกลาง ที่สามารถทำทั้งงานออกแบบและก่อสร้างได้ในตัว โดยประสานงานกับเจ้าของอาคารโดยตรง การทำงานโครงการก่อสร้างมีขั้นตอนตั้งแต่ออกแบบ ทำแบบ ขออนุญาต
ArchiCAD 21 มีฟีเจอร์ใหม่ ที่จะมาช่วยในเรื่องของการกำหนดระยะการแสดงผลของมุมมองรูปตัด และรูปด้านได้โดยตรงจากหน้าต่างการทำงานของ รูปตัด (Section) และรูปด้าน (Elevation) ได้สะดวกยิ่งขึ้น โดยให้เราไปที่ ดับเบิ้ลคลิกเปิด View 01 – New Section and Elevation